สั่งซื้อหรือสอบถามเพิ่มเติม

​​Mobile: 062-195-1909

Line id: @getbest 

ระบบนี้ค่าใช้จ่ายสูงและค่าการกั้นเสียงไม่ดีเท่าที่ควร ไม่แนะนำให้ใช้

ระบบผนังเบาแบบโครงคู่  บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม และระยะห่างระหว่างโครงคู่ 5 ซม

ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 2 แผ่น 

ระบบผนังเบา บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 1 แผ่น 

เหมาะกับผนังที่เน้นการเก็บเสียงพิเศษ 

เช่น ห้องคาราโอเกะ โฮมเธียร์เตอร์

ห้องซ้อมดนตรี(ที่ไม่มีกลอง) ห้องประชุมสัมมนาที่มีระบบเครื่องขยายเสียง 

เหมาะกับผนังห้องคาราโอเกะ โฮมเธียร์เตอร์

ที่ไม่ซีเรียสมาก ที่เสียงทะลุออกไปประมาณหนึ่ง

ระบบผนังเบา บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 2 แผ่น 

ระบบผนังเบาแบบโครงคู่  บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม และระยะห่างระหว่างโครงคู่ 5 ซม

ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 1 แผ่น กรุภายในโครง ด้วยฉนวนกันเสียง ISO NOISE 2 ชุด

เหมาะกับผนังห้องซ้อมดนตรี

ระบบผนังเบา บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 2 แผ่น 

ผนังของห้องแบบต่างๆ ควรมีค่า STC เท่าไหร่บ้าง??
เพื่อให้ง่ายต่อการเลือกระบบ จึงขอแนะนำค่า STC ที่เหมาะสมต่อการใช้งานห้องต่างดังต่อไปนี้

เส้นประสีน้ำเงินคือ เส้น STC Contour

ผนังก่ออิฐมอญ 2 ชั้น ห่างกัน 5 ซม

 ฉาบทั้งสองด้าน กรุภายในด้วยฉนวนกันเสียง ISO NOISE

เหมาะกับผนังห้องทั่วไป และห้องประชุมที่เน้นประสิทธิภาพในการเก็บเสียง หรือห้องโฮมเธียร์เตอร์ที่ไม่ได้ซีเรียสเรื่องการเก็บเสียงมากนัก

ผนังก่ออิฐมอญ ฉาบทั้งสองด้าน

อาจจะดูงง บ้างครับ แต่ไม่ต้องไปสนใจมากครับกับวิธีการหาค่า STC แต่ที่น่าสนใจคือ ค่า STC จะบอกประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงได้แบบเป็นรูปธรรมดังแสดงในภาพครับ

เหมาะกับผนังห้องทั่วไป เทียบเท่าระบบผนังก่ออิฐ

​ซึ่งจะมีปัญหาเรื่องเสียงทะลุผ่าน หากใช้ทำผนังห้องพักแน่นอน !!! 

ผนังก่ออิฐมวลเบา

ฉาบทั้งสองด้าน

ระบบผนังเบา บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม

ข้างละ 1 แผ่น กรุฉนวนกันเสียง ISO NOISE ภายในช่องว่างของผนัง 

สิ่งที่น่าสนใจก็คือ ค่าสัมประสิทธิ์ การทะลุผ่านของเสียงนั้นสามารถนำมาคำนวณเป็นค่าประสิทธิภาพในการทะลุผ่านของผนัง หรือ
ค่า Sound Transmission Loss  (TL) ได้ครับ

ค่าSound Transmission Loss (TL) ในความเป็นจริงหาได้จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ โดยห้องทดสอบจะมีลักษณะเป็นห้องทึบ 2 ห้อง ที่อยู่ติดกัน ผนังภายในห้องสร้างคอนกรีตหนาอย่างน้อย 40 เซนติเมตร เพื่อให้ผนังสามารถป้องกันเสียงทะลุผ่านออกไปข้างนอกได้


โดยห้องที่เป็นแหล่งกำเนิดเสียง (Source Room)  จะถูกวางลำโพงไปเปิดเสียงสัญญาณที่ความดังสูงเข้าไปในห้อง ซึ่งเราจะติดตั้งระบบผนังที่ต้องการทดสอบค่าประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงกั้นระหว่างห้องทั้ง 2























หลังจากนั้นก็ทำการวัดระดับความดังของห้องผู้รับ (Receiving Room) ผลต่างระดับเสียงระหว่างห้องแหล่งกำเนิด และห้องผู้รับ คือค่าประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงของระบบผนังที่ทำการทดสอบ

ผนังก่ออิฐมวลเบา  2 ชั้น ห่างกัน 5 ซม

 ฉาบทั้งสองด้าน กรุภายในด้วยฉนวนกันเสียง ISO NOISE

ผนังก่ออิฐมวลเบา 2 ชั้น ห่างกัน 5 ซม  ฉาบทั้งสองด้าน

ผนังก่ออิฐมอญ 2 ชั้น ห่างกัน 5 ซม

 ฉาบทั้งสองด้าน

รวมค่าการกันเสียง (STC) ของระบบผนังที่นิยมใช้ในประเทศไทย 

ระบบผนังเบาแบบโครงคู่  บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม และระยะห่างระหว่างโครงคู่ 5 ซม

ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 2 แผ่น 

STC 40

ระบบผนังเบาแบบโครงคู่  บนโครง C64 ระยะห่างระหว่างโครง 60 ซม และระยะห่างระหว่างโครงคู่ 5 ซม

ปิดด้วยแผ่นยิปซั่ม 12 มม ข้างละ 1 แผ่น 

เวลาที่ค่าประสิทธิภาพในการป้องกันเสียง หรือค่า TL ถูกทดสอบ ห้องปฏิบัติการจะออกค่าผลทดสอบ แยกตามช่วงความถี่แบบ Octave มาให้  ซึ่งค่อนข้างยุ่งยากในการสื่อสารโดยเฉพาะกับวงการสถาปนิก เพราะการพูดค่าTL จะต้องระบุย่านความถี่ที่ต้องการจะสื่อสารด้วย


ดังนั้น จึงมีการกำหนดค่าดัชนีที่เป็นตัวเลขตัวเดียวออกมาเพื่อเป็นตัวแทนในการสื่อสารประสิทธิภาพของการป้องกันเสียงทะลุผ่านของระบบผนังแบบภาพรวม ค่านี้เรียกว่า ค่า STC หรือ Sound Transmission Class

การหาค่า Sound Transmission Class ไม่ใช่การหาค่าเฉลี่ยของ TL ทุกๆ ความถี่นะครับ แต่มีวิธีการหา โดยการใช้เส้น STC Contour ซึ่งกราฟมาตรฐาน และทำการขยับกราฟมาตรฐานขึ้นลงในแนวดิ่งเปรียบเทียบกับค่า TL ที่ได้จากการวัด โดยการขยับจะถูกทำซ้ำแล้วซ้ำเล่า จนเข้าเงื่อนไขดังต่อไปนี้


-เมื่อรวมค่าผลต่างระหว่างค่าบน STC contour กับค่า TL ที่ได้จากการวัด จะต้องมีค่าไม่เกิน 32 dB
-ค่าผลต่างสูงสุดของแต่ละจุด จะต้องไม่เกิน 8 dB