คลิปทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงของระบบหน้าต่างกันเสียงที่ติดตั้งเพิ่มเข้าไป
รูปแรกทำการปิดหน้าต่างด้วยแผ่น ยิปซั่มก่อน 1 ชั้น
โดยหลายคนจะชอบสอบถามว่า รื้อหน้าต่างประตูเดิมแล้วใส่อันใหม่ที่กันเสียงได้ดีจะเวิร์คไหม คำตอบคือ ไม่เวิร์กเสมอไปครับ เพราะเคยเจอหลายเคสบ่อยๆ ที่แม้จะรื้อของเก่าออกและเปลี่ยนประตูหน้าต่างใหม่ไปแล้ว แต่กลายเป็นว่าเสียงก็ยังคงทะลุกระจก และผนังปูนตรงๆอยู่ดี แม้จะเงียบลงแต่ยังเงียบไม่พอสำหรับการใช้งาน
ดังนั้นโซลูชั่นที่ทางวิศวกรแนะนำคือการ เสริมระบบผนังเบากันเสียง เพิ่มจากผนังเดิมไปเลยครับ จะปิดช่องประตู หน้าต่างไปเลย หรือหากยังต้องการแสงสว่างก็ให้ติดตั้งหน้าต่าง หรือประตูกันเสียงเพิ่มเข้าไปอีกชั้น โดยควรใช้ขนาดประตูหน้าต่างมีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่รับได้ ซึ่งวิธีนี้มีประโยชน์หลายข้อคือ
A) ทำให้ผนังเดิมกันเสียงดีขึ้นมาก
B) ประตู หน้าต่าง อีกชั้น รวมกับของเก่าทำให้ยิ่งกันเสียงดีเพิ่มขึ้น
C) การรื้อประตู หน้าต่างเดิมออก สร้างความเสียหายให้กับผนัง และถ้าเป็นคอนโด หรืออาคารที่คุณไม่ได้เป็นเจ้าของเอง ก็อาจจะไม่ยอมให้รื้อเปลี่ยน
โดยขั้นตอนในการติดตั้งมีดังต่อไปนี้ครับ
กรณีแรก ทำผนังทับประตูหน้าต่างไปเลย ซึ่งวิธีนี้จะกันเสียงได้ดี แต่ก็ทำให้ช่องเปิดเพื่อให้แสงเข้า หรือการระบายอากาศหายไป
โดยหลายคนจะชอบสอบถามว่า รื้อหน้าต่างประตูเดิมแล้วใส่อันใหม่ที่กันเสียงได้ดีจะเวิร์คไหม คำตอบคือ ไม่เวิร์กเสมอไปครับ เพราะเคยเจอหลายเคสบ่อยๆ ที่แม้จะรื้อของเก่าออกและเปลี่ยนประตูหน้าต่างใหม่ไปแล้ว แต่กลายเป็นว่าเสียงก็ยังคงทะลุกระจก และผนังปูนตรงๆอยู่ดี แม้จะเงียบลงแต่ยังเงียบไม่พอสำหรับการใช้งาน
ดังนั้นโซลูชั่นที่ทางวิศวกรแนะนำคือการ เสริมระบบผนังเบากันเสียง เพิ่มจากผนังเดิมไปเลยครับ จะปิดช่องประตู หน้าต่างไปเลย หรือหากยังต้องการแสงสว่างก็ให้ติดตั้งหน้าต่าง หรือประตูกันเสียงเพิ่มเข้าไปอีกชั้น โดยควรใช้ขนาดประตูหน้าต่างมีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่รับได้ ซึ่งวิธีนี้มีประโยชน์หลายข้อคือ
A) ทำให้ผนังเดิมกันเสียงดีขึ้นมาก
B) ประตู หน้าต่าง อีกชั้น รวมกับของเก่าทำให้ยิ่งกันเสียงดีเพิ่มขึ้น
C) การรื้อประตู หน้าต่างเดิมออก สร้างความเสียหายให้กับผนัง และถ้าเป็นคอนโด หรืออาคารที่คุณไม่ได้เป็นเจ้าของเอง ก็อาจจะไม่ยอมให้รื้อเปลี่ยน
โดยขั้นตอนในการติดตั้งมีดังต่อไปนี้ครับ
กรณีแรก ทำผนังทับประตูหน้าต่างไปเลย ซึ่งวิธีนี้จะกันเสียงได้ดี แต่ก็ทำให้ช่องเปิดเพื่อให้แสงเข้า หรือการระบายอากาศหายไป
รูปแรกทำการปิดหน้าต่างด้วยแผ่น ยิปซั่มก่อน 1 ชั้น
รูปที่สอง ทำการติดตั้งระบบผนังกันเสียงรอบๆ หน้าต่าง เพื่อเพิ่มการกันเสียงให้กับผนังปูน และจะเป็นตัวรองรับกระจกกันเสียงชุดใหม่ที่จะติดเพิ่ม
นอกจากเสียงจากบ้านข้างๆ แล้ว ยังมีกรณีที่เสียงมาจากภายนอกบ้านด้วย โดยส่วนใหญ่เสียงจะทะลุผ่านเข้ามาภายในบ้าน ผ่านประตูบานเลื่อน และหน้าต่างบานเลื่อนเป็นหลัก
โดยวิธีการแก้ไขทำได้โดยตามเสริมผนังกันเสียงและติดตั้งหน้าต่างกันเสียงเพิ่มเติม ดังแสดงในรูปด้านล่าง
โดยหลายคนจะชอบสอบถามว่า รื้อหน้าต่างประตูเดิมแล้วใส่อันใหม่ที่กันเสียงได้ดีจะเวิร์คไหม คำตอบคือ ไม่เวิร์กเสมอไปครับ เพราะเคยเจอหลายเคสบ่อยๆ ที่แม้จะรื้อของเก่าออกและเปลี่ยนประตูหน้าต่างใหม่ไปแล้ว แต่กลายเป็นว่าเสียงก็ยังคงทะลุกระจก และผนังปูนตรงๆอยู่ดี แม้จะเงียบลงแต่ยังเงียบไม่พอสำหรับการใช้งาน
รูปที่สาม กรุฉนวนกันเสียงให้เต็มพื้นที่ผนัง
รูปที่สอง ติดตั้งโครงผนังเบาเพิ่ม 1 ชั้น
รูปที่สาม ติดตั้งหน้าต่างกันเสียงเข้าไป โดยกระจกด้านซ้ายจะเป็นบานตาย และด้านขวาเป็นบานเปิดเดียว โดยดึงเข้ามาในห้อง
รูปที่หนึ่ง ผนังด้านที่เสียงเข้า โดยมีหน้าต่างบานเลื่อน ซึ่งเสียงเข้ามาง่ายจากรอยรั่วรอบๆ หน้าต่างบานเลื่อน
รูปที่สอง ติดตั้งโครงผนังเบาเพิ่ม 1 ชั้น
กรณีเสียงรบกวนมาจากภายนอกบ้าน
การแก้ไขปัญหารูปแบบ C) การแก้ไขปัญหารูปแบบ C นั้นจะแตกต่างจากปัญหาในรูปแบบของทั้ง A และ B เนื่องจากเสียงกระแทกที่ได้ยินจากการกิจกรรมประกอบอาหาร หรือเสียงกระแทกของประตู บานตู้ เป็นเสียงที่ไม่ใช่เสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดแล้วเดินทางผ่านอากาศมายัง
ฝั่งผู้รับโดยตรง แต่เป็นแรงสั่นสะเทือนที่วิ่งผ่านตามโครงสร้าง ส่งผ่านมายังฝั่งผู้รับ และสั่นสะเทือนพื้นผิวภายในห้องของฝั่งผู้รับ สร้างเสียงรบกวน
การแก้ไขปัญหาในฝั่งผู้รับค่อนข้างยุ่งยากและใช้งบประมาณที่สูง เพราะหลักการก็คือการตัดขาดจุดเชื่อมต่อของโครงสร้างเพื่อไม่ให้แรงสั่นสะเทือนเดินผ่านเข้ามายังภายในห้องได้ แนวทางที่เหมาะสมคือการเจรจากับเพื่อนบ้าน เพื่อติดตั้งโช๊คอัพ เพื่อชะลอการกระแทกของประตู ขณะทำการเปิด- ปิด หรือการใช้ผ้าหรือพรมรองบริเวณที่เกิดการกระแทกจะช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
การแก้ไขปัญหารูปแบบ B) ในรปูแบบ B นั้น หากผนังถูกก่อขึ้นไปจนชน ท้องหลังคาแล้ว สามารถสรุปสาเหตุได้เพียงอย่างเดียวคือ เสียงเดินทางทะลุผ่านผนังที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันไม่เพียงพอ การเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงให้กับผนังสามารถทำได้เหมือนเช่นกรณีที่อธิบายด้านบน
ทำการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบผนังก่ออิฐ ด้วยการติดตั้งโครงผนังเบายิปซั่มหรือไฟเบอร์ซีเมนต์ (ความหนาโครง64 มิลลิเมตร) เข้ากับผนังเดิมของบ้าน และกรุภายในด้วยฉนวนกันเสียง ISO NOISE เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันเสียง แนะนำให้ใช้แผ่นยิปซั่มหรือไฟเบอร์ซีเมนต์ความหนาอย่างน้อย 10 มิลลิเมตร จำนวน 2 แผ่นยิงประกบกัน ทำการติดตั้งให้ชนท้องฝ้าและยิงซิลิโคนอุดรอยรั่วทั้งหมดให้เรียบร้อย
เมื่อทำการปรับปรุงประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงของฝ้าแล้ว หากยังมีเสียงรบกวนดังมาจากผนัง แนะนำให้ทำการเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันเสียงผนัง เพื่อให้สามารถป้องกันเสียงรบกวนจากบ้านข้างเคียงได้อย่างสมบูรณ์
ให้ถอดโคมไฟดาวไลต์ออกและใช้แผ่นยิปซั่มปิดรูของโคมไฟอุดรอยต่อด้วยซิลิโคน ก่อนทำการติดตั้งฝ้าฉาบเรียบความหนาฝ้าอย่างน้อย 12 มม. อีก 1 ชั้น ควรให้ระดับฝ้าชั้นใหม่ต่ำกว่าฝ้าเดิมอย่างน้อย 10 เซนติเมตร และกรุฉนวนกันเสียง ISO NOISE ไว้ตรงกลางระหว่างฝ้าทั้ง 2 ชั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันเสียง
การแก้ไขปัญหารูปแบบ A) เนื่องจากเมื่อเข้าไปอยู่ภายในบ้านแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่จะให้ช่างขึ้นไปก่อผนังจนชนใต้ท้องหลังคา แนวทางที่แนะนำให้แก้ไขคือการปรับปรุงระบบฝ้าของบ้านเราเอง โดยใช้รูปแบบการปรับปรุงระบบฝ้าเช่นเดียวกับการทำฝ้าป้องกันเสียงแบบบ้านเดี่ยวดังแสดงในรูปข้างล่าง
C) กรณีที่สาม คือ เสียงเกิดจากการกระแทก เช่น เสียงการตำครก เพื่อเตรียมเครื่องปรุงทำอาหารเครื่องปรุง เสียงการปิดประตู หรือแม้แต่เสียงกระแทกของบานตู้บิ้วอิน ที่อยู่ติดกำแพงระหว่างห้อง
ตัวอย่างบ้านที่ก่อผนังจนชนใต้ท้องหลังคา
ตัวอย่างบ้านที่ไม่ได้ก่ออิฐจนชนถึงใต้ท้องหลังคา
B) ผนังก่อชนหลังคาแล้ว น่าจะกันเสียงได้ดีพอสมควร แต่ถ้าเสียงยังทะลุอยู่แสดงว่าทะลุผนังตรงๆ เพราะผนังบาง และอ่อนเกินไป กันเสียงทะลุไม่อยู่
A) กรณีแรกผนังก่อเสมอแค่ฝ้า ด้านบนโล่ง เสียงสามารถเดินทางอ้อมฝ้ามาได้ง่ายๆ ยิ่งถ้าบ้านไหนใช้ฝ้าทีบาร์ เสียงยิ่งข้ามมาง่ายมากๆ
เสียงเข้ามาภายในบ้านเราได้ยังไงกัน ??
ขอแบ่งกรณีศึกษาออกเป็น 3 กรณีหลัก ๆ ดังนี้ครับ